ECONOMIC INEQUALITY IN THAILAND

แม้การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมานั้นมีทิศทางที่ดีขึ้น จากข้อมูลขององค์การ UNICEF ระบุว่าความยากจนได้ลดลงประมาณสองในสามนับตั้งแต่ปี 1990 แม้จะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 ก็ตาม อย่างไรก็ตาม ความเหลื่อมล้ำทางรายได้จำนวนมากยังคงมีอยู่ และผลประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในองค์รวมเข้าถึงแค่คนบางกลุ่มในสังคม ซึ่งเด็กๆ ส่วนมากในประเทศไทยไม่ได้รับผลประโยชน์จากการเติบโดตทางเศรษฐกิจแต่อย่างได

family_finance

MANY FAMILIES THAT CALL CHILDLINE FOR FINANCIAL HELP TO SUPPORT THEIR CHILDREN USUALLY FALL BELOW THE POVERTY LINE.

ครอบครัวในสถานการณ์ดังกล่าวมีแนวโน้มจะพบว่าพวกเขาไม่มีงานประจำ พักอาศัยอยู่ในแหล่งที่มีสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมหรือเป็นชุมชนแออัด มักมีประวัติใช้สารเสพติดและใช้ความรุนแรงกับเด็ก ซึ่งมีสาเหตุมาจากไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจ

GAPS IN FAMILY FINANCING

แม้ว่าสถานการณ์ทางการเงินของครอบครัวมีผลโดยตรงกับชีวิตของเด็ก แต่ไม่ได้เป็นปัจจัยชี้ขาดที่นำไปสู่การกระทำทารุณ การใช้ความรุนแรง หรือการหาประโยชน์กับเด็ก ในทางตรงกันข้ามเราพบเจอกรณีที่เด็กที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะปานกลางจนถึงร่ำรวยถูกทอดทิ้ง ละเลย เด็กที่อยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวไม่กล้าติดต่อเข้ามาเพื่อขอความช่วยเหลือซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการที่ไม่ต้องการให้ครอบครัวเสื่อมเสียชื่อเสียง

Although the financial situation of the family has a direct impact on a child’s life, it is by no means the deciding factor leading to child abuse, violence or exploitation. While in some poor northern areas of Thailand, a family might turn to selling their children for trafficking and exploitation, other families who are equally poor would never consider even the slightest possibility of doing so. Childline staff have to be very discerning of the various types of parents and parenting practices to verify whether a call for financial assistance is a genuine call for some extra help or whether the parents just seeking to live off the financial assistance for their child. The best interests of the child always have to be considered first.


Speak to us today